แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระภาษาไทย
ภาคเรียนที่ ๑ Quarter 2 ปีการศึกษา ๒๕๕๗ ชั้นประถมศึกษาปีที่
๑
สัปดาห์ที่ ๓ วันที่ ๑๘ – ๒๒
สิงหาคม ๒๕๕๗ เวลาเรียน ๕ คาบ ( ๑
ชั่วโมง / คาบ)

หน่วยการเรียนรู้รายสัปดาห์ : นิทานพยัญชนะ
(ฆ-ช)
สาระสำคัญ : พยัญชนะไทย
มีความสำคัญในการประสมคำ ทำให้คำมีความหลากหลายและนำมาใช้ได้อย่างถูกต้อง
และนิทานพยัญชนะก็เป็นวรรณกรรมขั้นพื้นฐานที่สำคัญของการประสมคำ จากพยัญชนะ สระ
วรรณยุกต์ เป็นเรื่องราวที่สร้างความสนใจให้เด็กอยากอ่าน อยากเรียนรู้
มีความสนุกสนานพร้อมแทรกข้อคิดในเกี่ยวกับการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน
การเอาใจใส่ดูแลกัน สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตได้
Big
Question :
พยัญชนะไทย (ฆ – ช)
เกี่ยวข้องกับนิทานที่เราได้ฟังและอ่านอย่างไรบ้าง และสามารถนำสิ่งใด
จากนิทานมาปรับใช้ได้บ้าง
เป้าหมายย่อย : นักเรียนสามารถอ่านคำอ่านคำ
และเรื่องราวในนิทานพยัญชนะ (ฆ-ช) ได้ แจกลูกคำ สะกดคำ และประสมคำในมาตราแม่ ก กา
ได้ สามารถถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน ให้ผู้อื่นเข้าใจได้ เป็นผู้มีนิสัยรักการอ่าน
มีมารยาทในการพูดและการฟัง และนำสิ่งที่ได้จากเรื่องที่อ่านไปใช้ในชีวิตได้
Day (วัน)
|
Input
|
Process ( กิจกรรมการเรียนรู้)
|
Output
|
Outcome
|
จันทร์
|
โจทย์
-นิทานพยัญชนะ
เรื่อง นิทานตัว ฆ
คำถาม:”
นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบนหน้าปกหนังสือนิทานเล่มนี้
เครื่องมือคิด :
Brainstorming
- Key Questions
- พฤติกรรมสมอง
บรรยากาศ/สื่อ :
- ห้องเรียน
-
หนังสือ นิทานพยัญชนะไทย
เรื่อง นิทานตัว ฆ
|
ขั้นนำ
ครูและนักเรียนทบทวนเกี่ยวกับกิจกรรมที่เกิดขึ้น
ขั้นสอน
ชง : ครูแสดงหนังสือนิทานให้นักเรียนดูพร้อมทั้งตั้งคำถามว่า
- นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบนหน้าปกหนังสือนิทานเล่มนี้
- นักเรียนคิดว่านิทานเรื่องนี้จะเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับอะไร
เชื่อม :
- ครูแนะนำหนังสือ เรื่อง นิทานตัว ฆ ครูอ่านให้นักเรียนฟัง
- ครูอ่านเป็นประโยคให้นักเรียนอ่านตาม
-ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนด้วยคำถาม
“ นักเรียนชื่นชอบตัวละครใดในนิทานเรื่องนี้”
ใช้ : นักเรียนเขียนชื่อตัวละครที่ชื่นชอบและวาดภาพประกอบลงในสมุดงาน
ขั้นสรุป
ครูตรวจงานและสอบถามความเข้าใจของนักเรียนเป็นรายบุคคล
|
ชิ้นงาน
-คำศัพท์ที่มีพยัญชนะ
ฆ พร้อมภาพประกอบลงในสมุดงาน
- ภาระงาน
- สิ่งที่แสดงถึงความเข้าใจ
- สามารถอธิบายเกี่ยวกับนิทานที่ฟังได้
- สามารถพูดอธิบายความหมายของคำศัพท์
พูดสื่อความให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างเหมาะสม
|
ความรู้
-สามารถนำคำศัพท์ไปประยุกต์ใช้ในการสื่อสาร
ได้เหมาะสม
ทักษะ
- สามารถสร้างสรรค์ภาพประกอบ ของตนเองได้
- สามารถสื่อสารกับผู้อื่น และนำเสนองานได้อย่างมั่นใจ - สามารถฟังและแสดงความคิดเห็นได้อย่างสร้างสรรค์
- เขียนถ่ายทอดเรื่องราวผ่านการบันทึกต่างๆได้
คุณลักษณะ
- เคารพและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ ระหว่างการเรียนและร่วมกิจกรรม
- เคารพสิทธิ์ตนเองและผู้อื่น เช่น ตั้งใจฟัง ยกมือก่อนพูด
ส่งงานตรงเวลาฯลฯ
|
Day (วัน)
|
Input
|
Process ( กิจกรรมการเรียนรู้)
|
Output
|
Outcome
|
อังคาร
|
โจทย์
-นิทานพยัญชนะ
เรื่อง งูงับเงาะ
คำถาม:
นักเรียนรู้จักพยัญชนะขึ้นต้นด้วย
ง งู มีคำว่าอะไรบ้าง
เครื่องมือคิด :
Brainstorming
- Key Questions
- พฤติกรรมสมอง
บรรยากาศ/สื่อ :
- ห้องเรียน
-หนังสือ นิทานพยัญชนะไทย
เรื่อง งูงับเงาะ
|
ขั้นนำ
ครูและนักเรียนทบทวนเกี่ยวกับกิจกรรมที่เกิดขึ้น
ขั้นสอน
ชง : ครูแสดงแผ่นนิทานบนกระดานให้นักเรียนดูพร้อมทั้งตั้งคำถามว่า
“นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง”
เชื่อม :
- ครูแนะนำหนังสือ เรื่อง งู งับ เงาะ ครูอ่านให้นักเรียนฟัง
- ครูอ่านเป็นประโยคให้นักเรียนอ่านตาม
-ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนด้วยคำถาม
“ นักเรียนชื่นชอบตัวละครใดในนิทานเรื่องนี้”
ใช้ : นักเรียนเขียนชื่อตัวละครที่ชื่นชอบและวาดภาพประกอบลงในสมุดงาน
ขั้นสรุป
ครูตรวจงานและสอบถามความเข้าใจของนักเรียนเป็นรายบุคคล
|
ชิ้นงาน
-คำศัพท์ที่มีพยัญชนะ
ง พร้อมภาพประกอบลงในสมุดงาน
- ภาระงาน
- สามารถนำคำศัพท์ไปประยุกต์ใช้ในการสื่อสาร
ได้เหมาะสม
|
ความรู้
-สามารถนำคำศัพท์ไปประยุกต์ใช้ในการสื่อสาร
ได้เหมาะสม
ทักษะ
- สามารถสร้างสรรค์ภาพประกอบ ของตนเองได้
- สามารถสื่อสารกับผู้อื่น และนำเสนองานได้อย่างมั่นใจ - สามารถฟังและแสดงความคิดเห็นได้อย่างสร้างสรรค์
- เขียนถ่ายทอดเรื่องราวผ่านการบันทึกต่างๆได้
คุณลักษณะ
- เคารพและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ ระหว่างการเรียนและร่วมกิจกรรม
- เคารพสิทธิ์ตนเองและผู้อื่น เช่น ตั้งใจฟัง ยกมือก่อนพูด
ส่งงานตรงเวลาฯลฯ
|
Day (วัน)
|
Input
|
Process ( กิจกรรมการเรียนรู้)
|
Output
|
Outcome
|
พุธ
|
โจทย์
-นิทานพยัญชนะ
เรื่อง นิทานตัว จ
คำถาม:
นักเรียนรู้จักพยัญชนะขึ้นต้นด้วย
จ จาน มีคำว่าอะไรบ้าง
เครื่องมือคิด :
Brainstorming
- Key Questions
- พฤติกรรมสมอง
บรรยากาศ/สื่อ :
- ห้องเรียน
- หนังสือนิทานพยัญชนะเรื่อง
นิทานตัว จ
|
ขั้นนำ
ครูและนักเรียนทบทวนเกี่ยวกับกิจกรรมที่เกิดขึ้น
ขั้นสอน
ชง : ครูแสดงหนังสือนิทานให้นักเรียนดูพร้อมทั้งตั้งคำถามว่า
- นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบนหน้าปกหนังสือนิทานเล่มนี้
เชื่อม :
- ครูแนะนำหนังสือ เรื่อง นิทานตัว จ ครูอ่านให้นักเรียนฟัง
- ครูอ่านเป็นประโยคให้นักเรียนอ่านตาม
-ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนด้วยคำถาม
“ นักเรียนชื่นชอบตัวละครใดในนิทานเรื่องนี้”
ใช้ : ครูให้นักเรียนตั้งชื่อตัวละครคนละ
๕ ชื่อโดยมีพยัญชนะ จ เป็นอักษรนำและวาดภาพประกอบลงในสมุดงาน
ขั้นสรุป
ครูตรวจงานและสอบถามความเข้าใจของนักเรียนเป็นรายบุคคล
|
ชิ้นงาน
-ตั้งชื่อตัวละคร ๕
ชื่อ พร้อมทั้งวาดภาพตัวละครลงในสมุด
- ภาระงาน
-
สามารถนำคำศัพท์ไปประยุกต์ใช้ในการสื่อสาร
ได้เหมาะสม
|
ความรู้
-สามารถนำคำศัพท์ไปประยุกต์ใช้ในการสื่อสาร
ได้เหมาะสม
ทักษะ
- สามารถสร้างสรรค์ภาพประกอบ ของตนเองได้
- สามารถสื่อสารกับผู้อื่น และนำเสนองานได้อย่างมั่นใจ - สามารถฟังและแสดงความคิดเห็นได้อย่างสร้างสรรค์
- เขียนถ่ายทอดเรื่องราวผ่านการบันทึกต่างๆได้
คุณลักษณะ
- เคารพและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ ระหว่างการเรียนและร่วมกิจกรรม
- เคารพสิทธิ์ตนเองและผู้อื่น เช่น ตั้งใจฟัง ยกมือก่อนพูด
ส่งงานตรงเวลาฯลฯ
|
Day (วัน)
|
Input
|
Process ( กิจกรรมการเรียนรู้)
|
Output
|
Outcome
|
พฤหัสบดี
|
โจทย์
-นิทานพยัญชนะ
เรื่อง นิทานตัว ฉ
คำถาม:
นักเรียนรู้จักพยัญชนะขึ้นต้นด้วย
ฉ มีคำว่าอะไรบ้าง
เครื่องมือคิด :
Brainstorming
- Key Questions
- พฤติกรรมสมอง
บรรยากาศ/สื่อ :
- ห้องเรียน
- หนังสือนิทานพยัญชนะเรื่อง
นิทานตัว จ
|
ขั้นนำ
ครูให้นักเรียนนำเสนอผลงานที่นักเรียนทำเมื่อวันที่ผ่านมา
จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลงานและการนำเสนอผลงาน
ขั้นสอน
ชง
: ครูแสดงหนังสือ (นิทานพยัญชนะไทย
นิทานตัว ฉ ) ให้นักเรียนดูและใช้คำถามกระตุ้นนักเรียนว่า
“นักเรียนเห็นอะไรบ้าง”
เชื่อม :
- ครูแนะนำหนังสือ เรื่อง นิทานตัว ฉ ครูอ่านให้นักเรียนฟัง
- ครูอ่านเป็นประโยคให้นักเรียนอ่านตาม
-ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนด้วยคำถาม
“ นักเรียนชื่นชอบตัวละครใดในนิทานเรื่องนี้”
ใช้ : นักเรียนเขียนชื่อตัวละครพร้อมทั้งวาดภาพตัวละครตามจินตนาการลงในสมุดงาน
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วม Show and Share นำเสนอชิ้นงาน
|
ชิ้นงาน
-วาดภาพประกอบการคาดเดาเนื้อเรื่องลงในสมุดงาน
- ภาระงาน
- สามารถนำคำศัพท์ไปประยุกต์ใช้ในการสื่อสาร
ได้เหมาะสม
|
ความรู้
-สามารถนำคำศัพท์ไปประยุกต์ใช้ในการสื่อสาร
ได้เหมาะสม
ทักษะ
- สามารถสร้างสรรค์ภาพประกอบ ของตนเองได้
- สามารถสื่อสารกับผู้อื่น และนำเสนองานได้อย่างมั่นใจ - สามารถฟังและแสดงความคิดเห็นได้อย่างสร้างสรรค์
- เขียนถ่ายทอดเรื่องราวผ่านการบันทึกต่างๆได้
คุณลักษณะ
- เคารพและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ ระหว่างการเรียนและร่วมกิจกรรม
- เคารพสิทธิ์ตนเองและผู้อื่น เช่น ตั้งใจฟัง ยกมือก่อนพูด
ส่งงานตรงเวลาฯลฯ
|
Day (วัน)
|
Input
|
Process ( กิจกรรมการเรียนรู้)
|
Output
|
Outcome
|
ศุกร์
|
โจทย์
- นิทานพยัญชนะ
เรื่อง นิทานตัว ช
- สรุปองค์ความรู้
คำถาม:
นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากนิทานเรื่องนี้บ้าง
เครื่องมือคิด :
Brainstorming
- Key Questions
- พฤติกรรมสมอง
บรรยากาศ/สื่อ :
- ห้องเรียน
-หนังสือนิทานพยัญชนะเรื่อง
นิทานตัว ช
|
ขั้นนำ
ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมาทั้งสัปดาห์
ขั้นสอน
ชง :
ครูเล่านิทานพยัญชนะไทย เรื่อง ตัว ช
ให้นักเรียนฟังพร้อมกับสอดแทรกคำถามเพื่อกระตุ้นการคิดเป็นระยะ
เชื่อม :
ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิดของนักเรียน
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากนิทานเรื่องนี้บ้าง
- นักเรียนรู้จักคำใดที่มีพยัญชนะ ช
เป็นตัวประกอบที่นอกเหนือจากในบทเรียน
- ครูทวนถามถึงกิจกรรมที่ผ่านมาอีกครั้ง
ใช้ :
- ครูให้นักเรียนเขียนคำที่มีพยัญชนะ
ช คนละ ๕ คำ
- นักเรียนเขียนสรุปกิจกรรมในรูปแบบ Mind mapping
ขั้นสรุป
ครูตรวจงานและสอบถามนักเรียนเป็นรายบุคคล
|
ชิ้นงาน
-ที่มีพยัญชนะ ช คนละ ๕ คำ ลงในสมุดงาน
- สรุปองค์ความรู้ Mind
mapping ลงในกระดาษ A4
ภาระงาน
-
สามารถนำคำศัพท์ไปประยุกต์ใช้ในการสื่อสาร
ได้เหมาะสม
|
ความรู้
-สามารถนำคำศัพท์ไปประยุกต์ใช้ในการสื่อสาร
ได้เหมาะสม
ทักษะ
- สามารถสร้างสรรค์ภาพประกอบ ของตนเองได้
- สามารถสื่อสารกับผู้อื่น และนำเสนองานได้อย่างมั่นใจ - สามารถฟังและแสดงความคิดเห็นได้อย่างสร้างสรรค์
- เขียนถ่ายทอดเรื่องราวผ่านการบันทึกต่างๆได้
คุณลักษณะ
- เคารพและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ ระหว่างการเรียนและร่วมกิจกรรม
- เคารพสิทธิ์ตนเองและผู้อื่น เช่น ตั้งใจฟัง ยกมือก่อนพูด
ส่งงานตรงเวลาฯลฯ
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น