แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้กลุ่มสาระภาษาไทย
ภาคเรียนที่ ๑ Quarter ๒ ปีการศึกษา
๒๕๕๗ ชั้นประถมศึกษาปีที่
๑
สัปดาห์ที่
๗ วันที่ ๑๕ –
๑๙ กันยายน ๒๕๕๗ เรียน ๕ คาบ ( ๑ ชั่วโมง / คาบ)
หน่วยการเรียนรู้ : นิทานพยัญชนะ(ก-ฮ)

หน่วยการเรียนรู้รายสัปดาห์ : นิทานพยัญชนะ (บ – พ)
สาระสำคัญ : พยัญชนะไทย (บ – พ) มีความสำคัญในการประสมคำ
ทำให้คำมีความหลากหลายและนำมาใช้ได้อย่างถูกต้อง และนิทานพยัญชนะก็เป็นวรรณกรรมขั้นพื้นฐานที่สำคัญของการประสมคำ
จากพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ เป็นเรื่องราวที่สร้างความสนใจให้เด็กอยากอ่าน
อยากเรียนรู้ มีความสนุกสนานพร้อมแทรกข้อคิดที่เราสามารถนำไปใช้ในชีวิตได้
Big
Question :
พยัญชนะไทย (บ – พ) เกี่ยวข้องกับนิทานที่เราได้ฟังและอ่านอย่างไรบ้าง
และสามารถนำสิ่งใดจากนิทานมาปรับใช้ได้บ้าง
เป้าหมายย่อย : นักเรียนสามารถอ่านคำ และเรื่องราวในนิทานพยัญชนะ (บ – พ) ได้
จับใจความสำคัญและถ่ายทอดด้วยการเล่าและวาดภาพเพื่อให้ผู้อื่นรับทราบได้
เป็นผู้มีนิสัยรักการอ่าน มีมารยาทในการพูดและการฟัง ตระหนักและเห็นความสำคัญของภาษาไทย
Day (วัน)
|
Input
|
Process ( กิจกรรมการเรียนรู้)
|
Output
|
Outcome
|
จันทร์
|
โจทย์
-นิทานพยัญชนะไทยเรื่อง
ใบ บ้า บัว
คำถาม:
-นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากเรื่องนี้อะไร
และมีตัวละครใดบ้าง”
เครื่องมือคิด :
Brainstorming
- Key Questions
- พฤติกรรมสมอง
บรรยากาศ/สื่อ :
- ห้องเรียน
- นิทาน ใบ บ้า บัว
|
- ขั้นนำ
ครูทบทวนโดยการให้นักเรียนอ่านนิทาน
ที่ได้เรียนมาเมื่อวาน
ขั้นสอน
ชง : ครูเสนอนิทานเรื่อง ใบ บ้า บัว
บนหน้ากระดาน ครูอ่านนิทานให้นักเรียนฟัง ๑รอบ
เชื่อม :
- ครูอ่านเป็นประโยคให้นักเรียนอ่านตาม กระตุ้นด้วยคำถาม“ นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง”
- ครูช่วยเขียนคำที่นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นไว้บนกระดานแล้วครูฝึกนักเรียนสะกดอ่านคำ
๑ รอบ
ใช้ : ครูแจกดินน้ำมันให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม
จากนั้นนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันปั้นดินน้ำมันเป็นคำที่มีพยัญชนะ บ ขึ้นต้น โดยครูบอกและคิดขึ้นเอง
นักเรียนนำเสนอโดยการสะกดอ่านออกเสียงพร้อมกัน
ขั้นสรุป
ครูให้นักเรียนเขียนคำศัพท์ที่มีพยัญชนะ บ
ขึ้นต้น พร้อมภาพ ประกอบลงในสมุด
|
ชิ้นงาน
- เขียน คำ ศัพท์ที่มีพยัญชนะ บ ขึ้นต้น พร้อมภาพ
ประกอบลงในสมุด
ภารงาน
สามารถอธิบาเกี่ยวกับนิทานที่ฟังได้
- สามารถพูดอธิบายความหมายของคำศัพท์
พูดสื่อความให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างเหมาะสม
-
สามารถนำคำศัพท์ไปประยุกต์ใช้ในการสื่อสารได้เหมาะสม
|
ความรู้
-สามารถนำคำศัพท์ไปประยุกต์ใช้ในการสื่อสาร
ได้เหมาะสม
ทักษะ
- สามารถสร้างสรรค์ภาพประกอบ ของตนเองได้
- สามารถสื่อสารกับผู้อื่น และนำเสนองานได้อย่างมั่นใจ - สามารถฟังและแสดงความคิดเห็นได้อย่างสร้างสรรค์
- เขียนถ่ายทอดเรื่องราวผ่านการบันทึกต่างๆได้
คุณลักษณะ
- เคารพและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ ระหว่างการเรียนและร่วมกิจกรรม
- เคารพสิทธิ์ตนเองและผู้อื่น เช่น ตั้งใจฟัง ยกมือก่อนพูด
ส่งงานตรงเวลาฯลฯ
|
Day (วัน)
|
Input
|
Process ( กิจกรรมการเรียนรู้)
|
Output
|
Outcome
|
อังคาร
|
โจทย์
-นิทานพยัญชนะไทยเรื่อง
ผาย ผึ่ง ไผ่
- คำถาม:
-นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากเรื่องนี้อะไร
และมีตัวละครใดบ้าง”
เครื่องมือคิด :
Brainstorming
- Key Questions
- พฤติกรรมสมอง
บรรยากาศ/สื่อ :
- ห้องเรียน
- นิทาน เรื่อง ผาย
ผึ่ง ไผ่
|
ขั้นนำ
ครูทบทวนโดยการให้นักเรียนอ่านนิทาน
ที่ได้เรียนมาเมื่อวาน
ขั้นสอน
ชง : ครูเสนอนิทานเรื่อง ผาย ผึ่ง ไผ่
บนหน้ากระดาน ครูอ่านนิทานให้นักเรียนฟัง ๑รอบ
เชื่อม :
- ครูอ่านเป็นประโยคให้นักเรียนอ่านตาม กระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง”
- ครูช่วยเขียนคำที่นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นไว้บนกระดานแล้วครูฝึกนักเรียนสะกดอ่านคำ
๑ รอบ
ใช้ : นักเรียนเขียนคำและวาดภาพประกอบพร้อมกับลากเส้นโยงคำประกอบภาพจากกระดาน
ขั้นสรุป
ครูให้นักเรียนเขียนคำศัพท์ที่มีพยัญชนะ ผ
ขึ้นต้น พร้อมภาพ ประกอบลงในสมุด
|
ชิ้นงาน
-เขียน คำ
ศัพท์ที่มีพยัญชนะ ผ ขึ้นต้น พร้อมภาพ ประกอบลงในสมุด
ภารงาน
สามารถอธิบาเกี่ยวกับนิทานที่ฟังได้
- สามารถพูดอธิบายความหมายของคำศัพท์
พูดสื่อความให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างเหมาะสม
-
สามารถนำคำศัพท์ไปประยุกต์ใช้ในการสื่อสารได้เหมาะสม
|
ความรู้
-สามารถนำคำศัพท์ไปประยุกต์ใช้ในการสื่อสาร
ได้เหมาะสม
ทักษะ
- สามารถสร้างสรรค์ภาพประกอบ ของตนเองได้
- สามารถสื่อสารกับผู้อื่น และนำเสนองานได้อย่างมั่นใจ - สามารถฟังและแสดงความคิดเห็นได้อย่างสร้างสรรค์
- เขียนถ่ายทอดเรื่องราวผ่านการบันทึกต่างๆได้
คุณลักษณะ
- เคารพและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ ระหว่างการเรียนและร่วมกิจกรรม
- เคารพสิทธิ์ตนเองและผู้อื่น เช่น ตั้งใจฟัง ยกมือก่อนพูด
ส่งงานตรงเวลาฯลฯ
|
Day (วัน)
|
Input
|
Process ( กิจกรรมการเรียนรู้)
|
Output
|
Outcome
|
พุธ
|
โจทย์
-นิทานพยัญชนะไทยเรื่อง ป้า ป้าย ปู
- คำถาม:
-นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากเรื่องนี้อะไร
และมีตัวละครใดบ้าง”
เครื่องมือคิด :
Brainstorming
- Key Questions
- พฤติกรรมสมอง
บรรยากาศ/สื่อ :
- ห้องเรียน
- นิทาน เรื่อง ป้า ป้าย ปู
|
ขั้นนำ
ครูทบทวนโดยการให้นักเรียนอ่านนิทาน
ที่ได้เรียนมาเมื่อวาน
ขั้นสอน
ชง : ครูเสนอนิทานเรื่อง ป้า ป้าย ปู
บนหน้ากระดาน ครูอ่านนิทานให้นักเรียนฟัง ๑รอบ
เชื่อม :
- ครูอ่านเป็นประโยคให้นักเรียนอ่านตาม กระตุ้นด้วยคำถาม“ นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง”
- ครูช่วยเขียนคำที่นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นไว้บนกระดานแล้วครูฝึกนักเรียนสะกดอ่านคำ
๑ รอบ
ใช้ : ครูแจกดินน้ำมันให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม
จากนั้นนักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันปั้นดินน้ำมันเป็นคำที่มีพยัญชนะ ป ขึ้นต้น โดยครูบอกและคิดขึ้นเอง
นักเรียนนำเสนอโดยการสะกดอ่านออกเสียงพร้อมกัน
ขั้นสรุป
ครูให้นักเรียนเขียนคำศัพท์ที่มีพยัญชนะ ป
ขึ้นต้น พร้อมภาพ ประกอบลงในสมุด
|
ชิ้นงาน
-เขียน คำ
ศัพท์ที่มีพยัญชนะ ป ขึ้นต้น พร้อมภาพ ประกอบลงในสมุด
ภารงาน
สามารถอธิบาเกี่ยวกับนิทานที่ฟังได้
- สามารถพูดอธิบายความหมายของคำศัพท์
พูดสื่อความให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างเหมาะสม
-
สามารถนำคำศัพท์ไปประยุกต์ใช้ในการสื่อสารได้เหมาะสม
|
ความรู้
-สามารถนำคำศัพท์ไปประยุกต์ใช้ในการสื่อสาร
ได้เหมาะสม
ทักษะ
- สามารถสร้างสรรค์ภาพประกอบ ของตนเองได้
- สามารถสื่อสารกับผู้อื่น และนำเสนองานได้อย่างมั่นใจ - สามารถฟังและแสดงความคิดเห็นได้อย่างสร้างสรรค์
- เขียนถ่ายทอดเรื่องราวผ่านการบันทึกต่างๆได้
คุณลักษณะ
- เคารพและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ ระหว่างการเรียนและร่วมกิจกรรม
- เคารพสิทธิ์ตนเองและผู้อื่น เช่น ตั้งใจฟัง ยกมือก่อนพูด
ส่งงานตรงเวลาฯลฯ
|
Day (วัน)
|
Input
|
Process ( กิจกรรมการเรียนรู้)
|
Output
|
Outcome
|
พฤหัสบดี
|
โจทย์
-นิทานพยัญชนะไทยเรื่อง ฝา แฝด ฝัน
- คำถาม:
-นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากเรื่องนี้อะไร
และมีตัวละครใดบ้าง”
เครื่องมือคิด :
Brainstorming
- Key Questions
- พฤติกรรมสมอง
บรรยากาศ/สื่อ :
- ห้องเรียน
- นิทาน เรื่อง นิทานฝาแฝด
|
ขั้นนำ
ครูทบทวนโดยการให้นักเรียนอ่านนิทาน
ที่ได้เรียนมาเมื่อวาน
ขั้นสอน
ชง : ครูเสนอนิทานเรื่อง ฝา แฝด ฝัน
บนหน้ากระดาน ครูอ่านนิทานให้นักเรียนฟัง ๑รอบ
เชื่อม :
- ครูอ่านเป็นประโยคให้นักเรียนอ่านตาม กระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง”
- ครูช่วยเขียนคำที่นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นไว้บนกระดานแล้วครูฝึกนักเรียนสะกดอ่านคำ
๑ รอบ
ใช้ : นักเรียนเขียนคำและวาดภาพประกอบพร้อมกับลากเส้นโยงคำประกอบภาพจากกระดาน
ขั้นสรุป
ครูให้นักเรียนเขียนคำศัพท์ที่มีพยัญชนะ ฝ
ขึ้นต้น พร้อมภาพ ประกอบลงในสมุด
|
ชิ้นงาน
-เขียน คำ
ศัพท์ที่มีพยัญชนะ ฝ ขึ้นต้น พร้อมภาพ ประกอบลงในสมุด
ภารงาน
สามารถอธิบาเกี่ยวกับนิทานที่ฟังได้
- สามารถพูดอธิบายความหมายของคำศัพท์
พูดสื่อความให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างเหมาะสม
-
สามารถนำคำศัพท์ไปประยุกต์ใช้ในการสื่อสารได้เหมาะสม
|
ความรู้
-สามารถนำคำศัพท์ไปประยุกต์ใช้ในการสื่อสาร
ได้เหมาะสม
ทักษะ
- สามารถสร้างสรรค์ภาพประกอบ ของตนเองได้
- สามารถสื่อสารกับผู้อื่น และนำเสนองานได้อย่างมั่นใจ - สามารถฟังและแสดงความคิดเห็นได้อย่างสร้างสรรค์
- เขียนถ่ายทอดเรื่องราวผ่านการบันทึกต่างๆได้
คุณลักษณะ
- เคารพและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ ระหว่างการเรียนและร่วมกิจกรรม
- เคารพสิทธิ์ตนเองและผู้อื่น เช่น ตั้งใจฟัง ยกมือก่อนพูด
ส่งงานตรงเวลาฯลฯ
|
Day (วัน)
|
Input
|
Process ( กิจกรรมการเรียนรู้)
|
Output
|
Outcome
|
ศุกร์
|
โจทย์
-นิทานพยัญชนะ
เรื่อง แพะ พัง พอน
- สรุปองค์ความรู้
- คำถาม:
-นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากเรื่องนี้อะไร
และมีตัวละครใดบ้าง”
เครื่องมือคิด :
Brainstorming
- Key Questions
- พฤติกรรมสมอง
บรรยากาศ/สื่อ :
- ห้องเรียน
- นิทาน เรื่อง นิทานพยัญชนะ
เรื่อง แพะ พัง พอน
|
ขั้นนำ
ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมาทั้งสัปดาห์
ขั้นสอน
ชง : ครูแสดงเนื้อเรื่องนิทานพยัญชนะไทยเรื่อง
แพะ พัง พอนให้นักเรียนดูบนกระดาน ครูให้นักเรียนอ่านนิทานตามครู
เชื่อม :
-ครูกระตุ้นนักเรียนด้วยคำถาม
“จากเรื่องนี้นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง”
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมาทั้งหมดอีกครั้ง
ใช้ :
- ครูให้นักเรียนเขียนชื่อเพื่อนที่มีพยัญชนะ พ ๕ คน
- นักเรียนเขียนสรุปกิจกรรมในรูปแบบ
Mind mapping
ขั้นสรุป
ครูให้การบ้านนักเรียนเขียนชื่อ คน สัตว์
สิ่งของที่ขึ้นด้วยพยัญชนะ พ ๒๐ ชื่อ
|
ชิ้นงาน
-เขียนชื่อเพื่อนที่มีพยัญชนะ พ ๕ คนลงในสมุดงาน
- Mind mapping กิจกรรมการเรียนรู้
- การบ้านนักเรียนเขียนชื่อ
คน สัตว์ สิ่งของที่ขึ้นด้วยพยัญชนะ พ ๒๐ ชื่อลงในสมุดงาน
ภารงาน
สามารถอธิบาเกี่ยวกับนิทานที่ฟังได้
- สามารถพูดอธิบายความหมายของคำศัพท์
พูดสื่อความให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างเหมาะสม
- สามารถนำคำศัพท์ไปประยุกต์ใช้ในการสื่อสารได้เหมาะสม
|
ความรู้
-สามารถนำคำศัพท์ไปประยุกต์ใช้ในการสื่อสาร
ได้เหมาะสม
ทักษะ
- สามารถสร้างสรรค์ภาพประกอบ ของตนเองได้
- สามารถสื่อสารกับผู้อื่น และนำเสนองานได้อย่างมั่นใจ - สามารถฟังและแสดงความคิดเห็นได้อย่างสร้างสรรค์
- เขียนถ่ายทอดเรื่องราวผ่านการบันทึกต่างๆได้
คุณลักษณะ
- เคารพและเห็นคุณค่าของตัวเองและผู้อื่น เห็นความเชื่อมโยงของตนเองและสิ่งต่างๆ ระหว่างการเรียนและร่วมกิจกรรม
- เคารพสิทธิ์ตนเองและผู้อื่น เช่น ตั้งใจฟัง ยกมือก่อนพูด
ส่งงานตรงเวลาฯลฯ
|
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น